Main menu
เป้าหมาย
๑. ด้านการเพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ กําหนดเป้าหมายของการดําเนินงานโดย
๑.๑ รักษาเป้าหมายผู้เรียนในระดับ ปวช. การเพิ่มปริมาณผู้เรียนในระดับ ปวส.
๑.๒ ลดปัญหาการออกกลางคัน โดยวางเป้าหมายให้ลดลงร้อยละ ๕ ด้วยการป้องกัน/ดูแลรายบุคคล การวิจัยพัฒนา แก้ปัญหารายวิทยาลัย/รายสาขาวิชา การวิเคราะห์แก้ปัญหาเชิงระบบกลุ่มเป้าหมายใน ๕๐วิทยาลัยที่มีปัญหาการออกกลางคันสูง
๑.๓ จัดการเรียนการสอนในระดับพื้นที่ และภาพรวมตามความต้องการในแต่ละสาขา
๑.๔ เปิดโอกาสให้นักเรียนเข้าเรียนสายอาชีพด้วยระบบโควต้า
๑.๕ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายผู้มีส่วนสําคัญต่อการเลือกเรียนอาชีวศึกษาในเชิงรุก ได้แก่ นักเรียนและผู้ปกครอง
๒. ด้านการขยายโอกาสในการเรียนอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ
๒.๑ จัดการอาชีวศึกษาครอบคลุมทุกพื้นที่ สาขาอาชีพ การขยายกลุ่มเป้าหมาย
๒.๒ จัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาในรูปแบบกลุ่มจังหวัด ๑๘ กลุ่มจังหวัด และกรุงเทพฯ รวม๑๙ สถาบันและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคละ ๑ แห่ง จํานวน ๔ แห่ง
๒.๓ จัดตั้งสถานศึกษาอาชีวศึกษาอําเภอในกลุ่มอําเภอชั้นหนึ่ง
๒.๔ ส่งเสริมการจัดอาชีวศึกษาชายแดนใต้สู่สันติสุข ศูนย์ฝึกอบรมอาชีวศึกษา อาชีวศึกษาสองระบบ และการจัดหลักสูตรอาชีวศึกษาท้องถิ่น และสนับสนุนทางการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาส
๒.๕ มุ่งผลิตการพัฒนากําลังคนในสาขาที่เป็นความต้องการของตลาดแรงงาน สาขาที่เป็นนโยบายรัฐบาล และการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการจัดอาชีวศึกษาเฉพาะทาง อาทิ ปิโตรเคมี การสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ ครัวไทยสู่ครัวโลก พลังงานทดแทนโลจิสติกส์/ รถไฟความเร็วสูง อัญมณี ยานยนต์ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ท่องเที่ยว/ โรงแรม ฯลฯ
๒.๖ ขยายกลุ่มเป้าหมายอาชีวศึกษาในโรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน และอาชีวศึกษาเพื่อคนพิการ อาชีวศึกษาวัยแรงงาน อาชีวศึกษาสูงวัย อาชีวศึกษาเพื่อสตรี อบรมระยะสั้น / ตลาดนัดศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน เทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อต่อยอดและพัฒนานาทักษะทั้ง Upgrade Skill และReskill ร่วมจัดอาชีวศึกษาในสถานพินิจ เรือนจํา ค่ายทหาร และ อปท. ฯลฯ
๒.๗ สนับสนุนให้หน่วยงาน/ องค์การร่วมจัดอาชีวศึกษาซึ่งได้แก่ สถานประกอบการ อปท.และภาคเอกชนจากสาขาอาชีพต่าง ๆ ฯลฯ
๒.๘ จัดอาชีวศึกษาทางเลือก อาชีวศึกษาทายาท วิทยาลัยอาชีวศึกษาฐานวิทยาศาสตร์อาชีวศึกษาอินเตอร์และอาชีวศึกษาเทียบโอนประสบการณ์
๒.๙ เพิ่มช่องทางการเรียนอาชีวศึกษาด้วย อาชีวศึกษาทางไกล และเครือข่ายวิทยุเพื่อการศึกษาและพัฒนาอาชีพ (R-
๓. ยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา
๓.๑ ระดับสถานศึกษา และระดับห้องเรียน ส่งเสริมคุณภาพ และสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการจัดอาชีวศึกษาโดย
-
-
-
-
-
-
-
๓.๒ ระดับผู้เรียน ยกระดับความสามารถของผู้เรียนเพื่อให้ผู้สําเร็จอาชีวศึกษา มีขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งสมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะการทํางานตามตําแหน่งหน้าที่ (Frunction Competency) โดยใช้ V-
๓.๓ เตรียมผู้เรียนสู่การเป็นประชาคม ASEAN โดยการเพิ่มจํานวนสถานศึกษา EnglishProgram(EP) Mini English Progarm(MEP) ทุกจังหวัดใช้หลักสูตร/สื่อต่างประเทศ สนับสนุนการฝึกงานต่างประเทศ/บริษัทต่างประเทศและในประเทศ ยกระดับทักษะด้านภาษาอังกฤษในงานอาชีพส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาประเทศคู่ค้า จัดระบบ Sister School ทุกประเทศใน ASEAN
๔. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
๔.๑ ด้านบริหารทั่วไป ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการ ได้แก่ WebPortal, E-
๔.๒ ด้านงบประมาณ ใช้แนวทาง Strategic Performance, Based Budgeting : SPBBและ Formula Funding โดยการจัดงบประมาณตามความจําเป็นพื้นฐาน ความเสมอภาค และตามนโยบายการกระจายอํานาจจัดซื้อจัดจ้าง จัดหางบประมาณค่าสาธารณูปโภคและค่าจ้างครูให้เพียงพอ
๔.๓ ด้านบริหารงานบุคคล สร้างเครือข่ายครู/ สมาคมวิชาชีพ จัดหาลูกจ้าง พนักงานราชการให้เพียงพอ รวมทั้งการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของสถานบันการอาชีวศึกษา
๔.๔ ด้านการสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อพัฒนาการจัด
อาชีวศึกษา ดังนี้
-
-
-
-