วิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครชัยภูมิ2568

Go to content

Main menu

ยุทธศาสตร์

เกี่ยวกับวิทยาลัย

ยุทธศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ยุทธศาสตร์
๑. ยกระดับคุณภาพผู้เรียนเข้าสู่มาตรฐานสากล
๒. เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ
๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดอาชีวศึกษา
๔. เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการให้มีมาตรฐานและคุณภาพโดยใช้ หลักธรรมาภิบาล

มาตรการ
๑. ส่งเสริมศักยภาพสถานศึกษา
๒. การจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
๓. ปฏิรูปการเรียนการสอน
๔. ปฏิรูปสื่อและหลักสูตร
๕. ระเบียบวินัย ความภาคภูมิใจในชาติ
๖. ทุนและเงินสนับสนุนการศึกษา
๗. การสร้างและกระจายโอกาส
๘. สร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในทุกระดับ
๙. สร้างเครือข่ายความร่วมมือในระดับภูมิภาคอาเซียนและต่างประเทศ
๑๐. พัฒนาระบบบริหารจัดการ
๑๑. ส่งเสริมสถาบันชาติ ศาสนา และพระมาหากษัตริย์

นโยบายเพิ่มเติม
๑. สร้างค่านิยมอาชีวศึกษา
๒. ม.๔๔ แก้ปัญหาทะเลาะวิวาท
๓. ม.๔๔ รวมอาชีวะรัฐ/เอกชน
๔. กรอ.อศ. อ.กรอ.อศ.
๕. ส่งเสริมอาชีวศึกษาให้มีความเป็นเลิศเฉพาะด้าน (เฉพาะทาง)
๖. จัดการศึกษาอาชีวศึกษาสู่มาตรฐานสากล (รวมอาชีวะอาเซียน)
๗. ทวิภาคี
๘. ทวิศึกษา
๙. ทวิวุฒิ
๑๐. ภาษาต่างประเทศ ๓R ๘C
๑๑. Re-profile สถานศึกษาอาชีวศึกษา๕
๑๒. แนะนำวิชาชีพลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
๑๓. สร้างความร่วมมือผลิตกําลังคนระดับจังหวัด/พื้นที่ (กศจ. อศจ.)
๑๔. สานพลังประชารัฐด้านการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ
- Re-branding
- Excellent Model School
- Database of Supply and Demand
- Standard and Certification Center

๑๕. สร้างความยึดหยุ่นระบบส่งต่อการศึกษาระหว่างสายสามัญ และสายอาชีพ ระดับ ปวช. ปวส.และ
ปริญญาตรีในทุกสังกัด ทั้ง สพฐ. กศน. สอศ. และ สกอ.
๑๖. สร้างความยึดหยุ่นระหว่างสถานศึกษาภาครัฐและเอกชนในพื้นที่
๑๗. วิจัย นวัตกรรม สู่การใช้ประโยชน์
แผนปฏิบัติราชการ
๑. ยกระดับคุณภาพผู้เรียน
๑.๑ ส่งเสริมศักยภาพของสถานศึกษา
๑.๑.๑ เสริมสร้างสถานศึกษาขนาดเล็กให้ได้มาตรฐานอาชีวศึกษา
๑.๑.๒ วิทยาลัยเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์
๑.๑.๓ ลดปัญหาการออกกลางคัน
๑.๑.๔ ขยายอาชีวะอําเภอ
๑.๒ สร้างผู้เรียนให้มีคุณภาพมาตรฐาน
๑.๒.๑ วิจัยและพัฒนาอาชีวศึกษาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม
๑.๒.๒ เสริมสร้างนวัตกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่
๑.๒.๓ ส่งเสริมทักษะวิชาชีพเพื่อเป็นมืออาชีพและความเป็นเลิศฯ เพื่อสร้างทุนปัญญาชาติ
๑.๒.๔ เตรียมความพร้อมผู้เรียนอาชีวศึกษา/แก้ไขปัญหาทะเลาะวิวาท/ทวิภาคีกลุ่มพิเศษ
๑.๒.๕ เพิ่มขีดความสามารถทางภาษา
๑.๒.๖ ปฏิรูปการสอนภาษาไทย ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง
๑.๒.๗ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
๑.๒.๘ รณรงค์ป้องกันและแกไขปัญหายาเสพติด
๑.๓ ยกระดับทักษะฝีมืออาชีพ
๑.๓.๑ ส่งเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษาเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
๑.๓.๒ อาชีวะพัฒนา
๑.๓.๓ อุดหนุนองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ
๑.๓.๔ อุดหนุนกิจกรรมองค์การวิชาชีพอุตสาหกรรม
๑.๓.๕ อุดหนุนกิจกรรมองค์การวิชาชีพพาณิชยกรรม
๑.๓.๖ ยกระดับมาตรฐานทักษะพื้นฐานอาชีพ
๑.๓.๗ พัฒนารูปแบบและยกระดับคุณภาพศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it Center)











๒. เพิ่มประมาณผู้เรียนสายอาชีพ
๒.๑ ผลิตและพัฒนากําลังคน
๒.๑.๑ อุดหนุนทุนการศึกษาตอนระดับปริญญาตรีสายปฏิบัติการ
๒.๑.๒ ทุนช่างเทคนิคและบัณฑิตนักปฏิบัติการ
๒.๒ ส่งเสริมเส้นทางอาชีพ
๒.๒.๑ ส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เรียนอาชีวศึกษา
๒.๒.๒ จัดศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพในสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพประชาชน
๒.๒.๓ พัฒนาการศึกษา ตชด.
๒.๒.๔ ขยายโอกาสทางการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการจัดการหลักสตรวิชาชีพระยะสั้น
๒.๒.๕ การจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย
๒.๒.๖ อุดหนุนโครงการทางไกลผ่านดาวเทียมวังไกลกังวล
๒.๒.๗ อุดหนุนการหารายได้ระหว่างเรียน
๒.๒.๘ อุดหนุนนักเรียนอาชีวศึกษาแก้ไขปัญหาความยากจนในชนบท
๒.๒.๙ สนับสนุนการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๒.๒.๑๐ อุดหนุนการฝึกอบรมเกษตรระยะสั้น
๒.๒.๑๑ อุดหนุนการศึกษาเฉลิมราชกุมารี
๓. ส่งเสริมการมีสวนร่วมทุกภาคส่วน
๓.๑ สร้างเครือข่ายความร่วมมือในประเทศ
๓.๑.๑ เพิ่มบทบาทภาครัฐและเอกชนในการผลิตกําลังคนอาชีวศึกษาตอบสนองภาคการ
ผลิตและบริการในสาขาที่เป็นความต้องการของประเทศ
๓.๑.๒ ยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาทวิภาคี
๓.๒ สร้างเครือข่ายความร่วมมือในต่างประเทศ
๓.๒.๑ โรงเรียนพระราชทานวิทยาลัยกําปงเฌอเตียลราชอาณาจักรกัมพูชา
๓.๒.๒ เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
๓.๒.๓ ความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อพัฒนาอาชีวศึกษาของประเทศไทย
๓.๒.๔ อุดหนุนบำรุงสมาชิกวิทยาลัยนักบริหารการศึกษาช่างเทคนิคแผนโคลัมโบ
๓.๒.๕ ความร่วมมือในการฝึกงานนักเรียน นักศึกษา อาชีวศึกษาในต่างประเทศ๗
๓.๒.๖ อาชีวศึกษามาตรฐานสากล
๔. เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการ
๔.๑ พัฒนาระบบบริหารจัดการ
๔.๑.๑ อุดหนุนค่าอุปกรณ์การเรียนของนักเรียนสายอาชีพ
๔.๑.๒ สร้างค่านิยมอาชีวศึกษา
๔.๑.๓ เร่งประสิทธิภาพการสอนครูอาชีวศึกษา
๔.๑.๔ เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
๔.๑.๕ ผลิต พัฒนา เสริมสร้างคุณภาพชีวิตครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
๔.๑.๖ จัดหาบุคลากรสนับสนุนคืนครูให้นักเรียน
๔.๑.๗ ส่งเสริมงานวิจัยพัฒนานโยบายและวิจัยองค์ความรู้



ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบาย คสช.
๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม
๓. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
๔. ใฝ่หาความรู้  หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม
๕. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
๖. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน
๗. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง
๘. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย  ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่
๙. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทํา รู้ปฏิบัติตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๑๐. รู้จักดํารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจําเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจําหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี
๑๑. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออํานาจฝ่ายดำหรือกิเลส มีความละอายเกรง
กลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา
๑๒. คํานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง


Back to content | Back to main menu